รวมถึงปวดที่โพรงไซนัส ซึ่งเป็นอวัยวะที่อยู่ใกล้เคียงกัน
ก่อนที่เราจะตัดสินใจว่าผ่าหรือไม่ผ่า ควรรู้ก่อนว่าฟันคุดเป็นแบบไหน ฟันคุดของเราขึ้นในลักษณะใด เป็นฟันคุดที่ขึ้นยังไม่เต็มที่ ขึ้นเต็มที่แล้ว หรือขึ้นแบบเฉียงๆ ซึ่งหากเป็นฟันกรามซี่ในสุดที่ขึ้นได้ไม่เต็มที่หรือขึ้นได้บางส่วนต้องทำการผ่าออกเพื่อป้องกันปัญหาช่องปากที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
ก่อนทำการรักษา ทันตแพทย์จะทำการเอกซเรย์เพื่อวินิจฉัยว่าฟันคุดมีการขึ้นแบบไหนและควรผ่าออกเลยหรือไม่ โดยหากมีแนวโน้มว่าตัวฟันมีโอกาสที่จะขึ้นได้อย่างเต็มซี่หรือมีฟันคู่สบ ก็อาจจะแนะนำให้รอดูอาการไปก่อนและยังไม่ต้องผ่า โดยเลือกเป็นการถอนแทนหลังตัวฟันขึ้นออกมาพ้นเหงือกได้มากพอ
ฟันคุดเป็นปัญหาสุขภาพช่องปากที่หลายคนต้องเผชิญ โดยเฉพาะในช่วงวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ตอนต้น คำถามที่พบบ่อยคือ “ถ้า ไม่ผ่าฟันคุด จะเป็นอะไรไหม?” บางคนอาจไม่มีอาการเจ็บปวดหรืออักเสบ จึงลังเลว่าจำเป็นต้องผ่าหรือไม่ ในบทความนี้ เราจะมาดูว่าฟันคุดส่งผลกระทบต่อสุขภาพช่องปากอย่างไร และในกรณีไหนที่สามารถหลีกเลี่ยงการผ่าตัดได้ เพื่อช่วยให้คุณตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมกับสุขภาพของคุณ
ทีม เพื่อสุขภาพ หาข้อมูล-ลงมือเขียนและเรียบเรียงโดยทีมกองบรรณาธิการเว็บไซต์ เพื่อสุขภาพดอทคอม ()
อย่างไรก็ตาม หากอาการปวดหลังจากผ่าฟันคุดรุนแรงขึ้น หรือมีอาการอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น มีไข้ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดฟันมากขึ้น มีอาการบวมหรืออักเสบบริเวณแผลมากขึ้น ควรรีบกลับไปพบทันตแพทย์
#ทันตกรรม #ตรวจสุขภาพฟัน #คลินิกทันตกรรม
ตอบข้อสงสัย ฟันคุดไม่ผ่าหรือถอนออกได้ไหม เป็นอันตรายหรือเปล่า?
ฟันคุดทำให้มีการอักเสบ ปวด บวม เนื่องจากขณะฟันยังขึ้นไม่เต็มซี่มักจะมีเศษอาหารกักอยู่ใต้เหงือก ทำความสะอาดยาก ตำแหน่งที่มีเศษอาหารติดเป็นประจำรวมทั้งฟันซี่ที่ถูกฟันคุดเบียดชน มักจะผุ ถ้าปล่อยไว้นานจนฟันผุลุกลาม อาจสูญเสียฟันข้างเคียงกับฟันคุดนั้นได้
ฟันคุดเป็นสิ่งที่สร้างผลกระทบต่อสุขภาพช่องปากรวมถึงสุขภาพกาย ถ้ารู้ตัวว่ามีฟันคุดแล้ว ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า จำเป็นต้องผ่าหรือถอนฟันคุดออก เพราะฟันคุดที่ขึ้นมาจะส่งผลกระทบกับแนวฟัน ทำให้มีผลต่อฟันซี่ที่อยู่บริเวณใกล้เคียงได้ อาจทำให้เกิดฟันผุ หรือเหงือกอักเสบ หรือหากปล่อยไว้นานจะทำให้เกิดถุงน้ำในบริเวณขากรรไกร ยิ่งฟันคุดอยู่ลึกมากเท่าไร อาการปวดบวมและอักเสบจะยิ่งมากขึ้นเท่านั้น
ฟันคุดบางกรณีอาจไม่จำเป็นต้องได้รับการผ่าตัด ซึ่งทันตแพทย์จะเป็นผู้ประเมินความจำเป็นในการรักษาตามสภาพของฟันคุดแต่ละราย โดยทั่วไป ฟันคุดที่อาจไม่ต้องผ่าตัด มีลักษณะดังนี้
นอกจากนั้นอาการชาอาจจะเกิดจากการฉีดยาชาที่บริเวณใกล้เส้นประสาท แล้วทำให้ชาก็ได้เช่นกัน
การถอนฟันคุดใช้เวลาพักฟื้นไม่นาน และหากดูแลตัวเองเป็นอย่างดี ปฏิบัติตามคำแนะนำของทันตแพทย์อย่างเคร่งครัด แผนก็จะหายได้ในไม่ช้า โดยคำแนะนำเบื้องต้นในการดูแลตัวเอง อาจมีดังนี้
รักษารากฟันหรือถอนฟัน แบบไหนดีกว่า